ประกาศ!!!

บล็อกนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา ว 32161 ดาราศาสตร์

อาจารย์ผู้สอน อาจารย์วิสูตร ยอดสุข


จัดทำโดย  นายวโรดม  ฮุ่นศิริ  ชั้น ม.5/4  เลขที่ 3

ปีการศึกษา 2555


โรงเรียนสมุทรปราการ

วันพฤหัสบดีที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2555

คำถามท้ายบทที่1 โครงสร้างโลก

คำถามท้ายบท                                                                                       


1.หินต้นกำเนิดของเเมกมาส่วนใหญ่อยู่บริเวณชั้นเนื้อโลกตอนบน ให้นักเรียนบอกประเภท เเละส่วนประกอบของหินต้นกำเนิดเเมกมา 
ตอบ           มี 3 ประเภท
                 -  หินหนืดบะซอลต์
                 -  หินหนืดไดออไรต์ 
                 -  หินหนืดไรโอไลต์ 
ส่วนประกอบ ทั้งของแข็งและก๊าซ โดยส่วนที่เป็นของแข็งนั้น คือ ผลึกแร่ ที่มีส่วนประกอบที่สำคัญ คือ ธาตุที่พบใน แร่ซิลิก้า ก๊าซที่อยู่ในแมกมานั้น ประกอบไป ด้วย คาร์บอนไดออกไซด์และไอน้ำ ลาวาเป็นส่วน ประกอบที่สำคัญของแมกมานั่นเอง เพียงแต่ส่วนประกอบที่ เป็นก๊าซที่อยู่ในแมกมานั้นได้หายไปกับอากาศหรือน้ำแล้ว
2. คลื่น P เเละ S มีความเเตกต่างอย่างไร
ตอบ   คลื่น P สามารถเคลื่นที่ผ่านตัวกลางได้ทุกสถานะ เเละมีความเร็วมากกว่าคลื่น S
คลื่น S สามารถเคลื่นที่ผ่านได้เฉพาะตัวกลางที่เป็นของเเข็งเท่านั้น
 
3. เมื่อ เกิดแผ่นดินไหว  ณ บริเวณใดบริเวณหนึ่ง  จะเกิดเขตอับคลื่น  S  ( S wave shadow zone ) ที่ครอบคลุมผิวโลกในบริเวณกว้าง ให้นักเรียนใช้ความรู้เกี่ยวกับสมบัติของคลื่นไหวสะเทือนเเละโครงสร้างโลก อธิบายปรากฏการณ์ดังกล่าว
ตอบ    ขณะที่เกิดแผ่นดินไหว จะ เกิดแรงสั่นสะเทือนขยายแผ่จากศูนย์เกิดแผ่นดินไหวออกไปโดยรอบทุกทิศทาง เนื่องจากภายในของโลกมีความหนาแน่นไม่เท่ากัน และมีสถานะต่างกัน คลื่น S ไม่สามารถเดินทางผ่านชั้นของเหลวได้โดยจะต้องผ่านแก่นโลกชั้นนอกซึ่งเป็นของเหลว จึงปรากฏแต่บนซีกโลกเดียวกับจุดเกิดแผ่นดินไหว โดยมีเขตอับอยู่ที่มุม 103 องศาเป็นต้นไป

4.ให้นักเรียนทำแผนผังสรุปโครงสร้างโลกต่อไปนี้ โดยเติมลงในช่องว่างให้สมบูรณ์



 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

facebook